ReadyPlanet.com
dot dot
Strengthing

        Strength  คือการบริหารเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อโดยใช้เครื่องมือบริหารกล้ามเนื้อช่วยเรียกการออกกำลังที่ต้องออกแรงต้าน resistance trainging โดยใช้น้ำหนัก 3-4 กก. บริหารกล้ามเนื้อ 8-10 แบบ เช่นกล้ามเนื้อแขน ไหล่ หน้าอก ขา เป็นต้น อวัยวะแต่ละส่วนให้ออกกำลัง 10-15 ครั้ง ทำ 2 วันต่อสัปดาห์

ประโยชน์ของการเพิ่มกำลังของกล้ามเนื้อ

  • ลดอาการปวดของโรคข้ออักเสบ จากการทดลองให้ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม บริหารโดยการเพิ่มกำลังของกล้ามเนื้อเป็นเวลา 16 สัปดาห์พบว่า จะลดอาการเจ็บปวดได้ร้อยละ 43 กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น สุขภาพโดยรวมดีขึ้น นอกจากนั้นยังให้ผลดีกับโรคข้อหลายๆโรคเช่น rheumatoid
  • ลดการหักของกระดูก คนสูงอายุเมื่อหกล้มจะเกิดการหักของกระดูกได้ง่าย การบริหารโดยการเพิ่มกำลังของกล้ามเนื้อจะลดการหักของกระดูก เนื่องจากกล้ามเนื้อมีแรงเพิ่มขึ้น การยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อดีขึ้น การทรงตัวดีขึ้นซึ่งทำให้หกล้มลดลง จากการทดลองที่ประเทศนิวซีแลนด์พบว่าลดการหักของกระดูกลงได้ร้อยละ 40
  • เพิ่มความหนาแน่นของกระดูก หญิงวัยทองจะมีโรคกระดูกพรุนซึ่งหักไ้ง่าย การบริหารร่างกายเพิ่มเพิ่มกำลังจะลดอัตราการหักของกระดูก
  • ช่วยในการควบคุมน้ำหนัก กล้ามเนื้อเป็นแหล่งที่ใช้พลังงานมาก การบริหารจะทำให้กล้ามเนื้อใหญ่ขึ้นซึ่งจะเพิ่มอัตราการใช้พลังงาน ซึ่งทำให้คุมน้ำหนักได้ดีขึ้น
  • ช่วยในการควบคุมน้ำตาลได้ดียิ่งขึ้น ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สองที่ออกกำลังกายโดยการเพิ่มกำลังของกล้ามเนื้อจะทำให้ควบคุมน้ำตาลได้ดียิ่งขึ้นเมื่อเทียบการใช้ยา
  • การออกกำลังกายชนิดนี้จะช่วยลดอาการเครียดเนื่องจากสุขภาพทางกายที่ดีขึ้น และการออกกำลังกายเชื่อว่าจะมีการสารสารเคมีบางชนิดมนสมองซึ่งจะลดความเครียด
  • นอนหลับได้ดีขึ้น
  • ทำให้หัวใจทำงานดีขึ้น

การยืดกล้ามเนื้อ Flexibility

ความคล่องตัวของการเคลื่อนไหวจะเกิดก็ต่อเมื่อเราได้บริหารโดยการยืดเอ็นและกล้ามเนื้อ flexibility exercise การบริหารวิธีนี้จะไม่ทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น หรือทำให้ปอดและหัวใจแข็งแรงขึ้น ก่อนการทำบริหารคุณควรจะได้มีการอบอุ่นร่างกาย(warm up ) โปรดจำไว้ว่าไม่ควรจะยืดกล้ามเนื้อหากยังไม่ได้อบอุ่นร่างกาย หลักการยืดกล้ามเนื้อจะกระทำจนกระทั้งกล้ามเนื้อมัดที่ถูกบริหารเริ่มมีการตึงตัว

ควรจะบริหาร flexibility เมื่อไรและบ่อยแค่ไหน

  • การบริหาร stretching ควรบริหารหลังจากการออกกำลังแบบ aerobic หรือการยกน้ำหนัก
  • ถ้าหากไม่ได้ออกกำลัง แบบ aerobic หรือยกน้ำหนัก ให้เดินไปมาสักระยะหนึ่งก่อนแล้วบริหารแบบยืดเส้น
  • ถ้าหากบริหารร่างกายโดยใช้ stretching อย่างเดียวให้ออกสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 20 นาที ในการบริหารแต่ละท่าให้ทำ 3 ครั้ง เมื่อยืดเส้นจนได้ตำแหน่งที่ต้องการให้คงท่านั้นไว้ 10 วินาทีหลังจากนั้นให้ผ่อนคลายแล้จึงยืดใหม่

    ข้อควรระวัง

    • ผู้ป่วยที่ผ่าตัดเปลี่ยนข้อต้องปรึกษาแพทย์ก่อนออกกำลังกาย
    • การทำ flexibility ควรจะทำหลังจากการ warm up หรือหลังจากการออกกำลังแบบ aerobic หรือยกน้ำหนัก
    • การบริหารแบบ flexibility จะไม่ทำให้ปวดข้อ ถ้าหากท่านปวดแสดงว่ายืดมากไป
    • หลักการ flexibility ให้ค่อยๆยืดจนได้ตำแหน่งที่ต้องการ แล้วคงท่านั้นไว้ 10 วินาที อย่าใช้วิธีโยกๆ

    ท่าที่จะใช้บริหารมีกี่ท่า

  • กล้ามเนื้อคอ
  • ข้อไหล่
  • กล้ามเนื้อหลัง และสะโพก
  • กล้ามเนื้อต้นขา 
  • กล้ามเนื้อน่อง
  • ข้อสะโพก
  • ข้อเท้า
  • ข้อมือ






  • dot
    นานาสาระ
    dot
    bulletเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย
    bulletภาษาญี่ปุ่นที่ใช้ในการฝึก
    bulletเทคนิคคุมิเต้
    bulletวิธีการผับชุด
    dot
    การฝึกซ้อมที่คิดส์ยิม
    dot
    bulletตารางการฝึกซ้อม
    bulletวิธีการสมัคร
    dot
    My Karate
    dot
    bulletKata
    bulletKihon
    bulletMovement
    bulletWarming Up
    bulletStrengthing
    dot
    กฎ กติกา
    dot
    bulletประเภทต่อสู้ (Kumite)
    bulletประเภทท่ารำ(Kata)
    dot
    กิจกรรมที่ผ่านมา
    dot
    bulletเข้าค่ายนครปฐม ปี 2549
    bulletเข้าค่ายกาญจนบุรี ปี 2550
    dot
    Link เครือข่าย
    dot
    bulletการกีฬาแห่งประเทศไทย
    bulletสมาคมคาราเต้ โด
    bulletMylife-Mykarate
    bulletShotokan
    bulletNinjutsu-thailand
    bulletThaikarate-School
    bulletThai Gojukai
    bulletKarate hadyai
    bulletthaikaratedo
    bulletBangkokfight club
    bulletGlobal Martialarts Center (GMAC)
    dot
    Karate Club in University
    dot
    bulletมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
    bulletมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
    bulletพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
    bulletมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    bulletม.นเรศวร
    dot
    Link ต่างประเทศ
    dot
    bulletWKF
    bulletAKF
    bulletJKF
    bulletIKGA
    bulletJKA
    dot
    แบบฟอร์สมาคมกีฬาจังหวัด
    dot
    bulletใบสมัครขึ้นทะเบียนนักกีฬาสังกัดสมาคมกีฬาจังหวัด
    bulletแบบคำขอย้ายสังกัดสมาคมกีฬาจังหวัด
    bulletระเบียบการกีฬาแห่งประเทศไทย
    dot
    Newsletter

    dot
    bulletFAQ (Frequently Asked Questions)




    Copyright © 2010 All Rights Reserved.